โครงการช้าง

1.โครงการ การเสริมสร้างศักยภาพและความรู้ด้านการท่องเที่ยวช้างสำหรับบุคลากรท่องเที่ยว ช้าง (Elephant tourism potentialities and knowledge enhancement for elephant tourist staffs) เป็นการให้ความรู้ความถูต้องในเรื่องช้างของประเทศไทยในด้านมิติต่างๆและบริบทที่ช้างข้อง เกี่ยว โดยเฉพาะด้านที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวในปัจจุบัน อีกทั้งรวบรวมปัญหาและประเด็นต่างๆ จากลุ่มเป้าหมายที่ได้ประสบในการปฏิบัติงานและการบริการการท่องเที่ยวจริงๆ มาพัฒนาเป็น ฐานข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่สามารถสืบค้นและอ้างอิงได้ ที่จะช่วยกลุ่มเป้าหมายในการเพิ่มศักยภาพ ด้านการสื่อความหมายต่อนักท่องเที่ยวและสาธารณะ โดยเฉพาะมัคคุเทศก์และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยวปางช้าง เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องและปลูกจิตสำนึกเกี่ยวกับการท่องเที่ยวที่ คำนึงถึงสวัสดิภาพของช้าง ทั้งโครงการฯ ได้ดำเนินการโดยผ่านทางกิจกรรมสองช่วงด้วยกัน คือ ในช่วงที่ (1) การระดม ความคิดและการเสริมสร้างความรู้ความเข้า การสื่อความหมายแก่บุคลากรการท่องเที่ยวช้าง ซึ่งจัดใน รูปแบบของการอบรมและเสวนาในเรื่องความรู้ พร้อมการถกแถลงร่วมกันของกลุ่มเป้าหมายและ วิทยากรผู้ทรงวคุณวุฒิ ครั้งที่ 1 และ 2 และในช่วงที่ (2) การพัฒนาฐานข้อมูลความรู้ ความเข้าใจและ แนวทางในการสื่อความหมายตามข้อเท็จจริงจากผู้มีส่วนร่วมในช่วงที่ (1) ซึ่งจะจัดในรูปแบบของการ ประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำฐานข้อมูล-ต้นฉบับคู่มือในข้อเท็จจริงในมิติต่างๆของการท่องเที่ยวช้าง ในประเทศไทย สำหรับกลุ่มเป้าหมายนำไปใช้ ในส่วนของผู้จัดทำโครงการ วิทยากรและตัวแทน กลุ่มเป้าหมายได้มีการกำหนดช่วงระยะเวลาการทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้เกิดการบรรลุตาม วัตถุประสงค์และเกิดผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ โครงการฯนี้เกิดขึ้นโดยการสนับสนุนทุนจากโครงการบริการวิชาการที่มีผลกระทบสูง หน่วย สนับสนุนวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้รับการสนับสนุนจากคณะสัตว แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยช้างและสัตว์ป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สมาคมสหพันธ์ช้างไทย ตลอดจนมัคคุเทศก์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการ ท่องเที่ยวช้าง ทั้งหมดทั้งมวลก็เพื่อมีส่วนช่วยสร้างการท่องเที่ยวช้างที่คำนึงถึงสวัสดิภาพของช้าง ต่อไป

2.สืบเนื่องจากโครงการเดิมคือ “การพัฒนาหลักสูตรออนไลน์เรื่องการสื่อความหมายด้านการ ท่องเที่ยวช้างส าหรับมัคคุเทศก์” ที่ดำเนินการระหว่างเดือน สิงหาคม 2563 ถึงเดือนมิถุนายน 2564 นั้น เป็นโครงการที่มีที่มาจากการที่ใน ปีงบประมาณ 25572559 ทางคณะผู้วิจัยได้ท าการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวปางช้างในจังหวัดเชียงใหม่” ซึ่งเป็นโครงการวิจัยภายใต้แผน งานวิจัย “การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนให้กับธุรกิจการท่องเที่ยวประเภทปางช้าง ในจังหวัด เชียงใหม่” โดยได้รับทุนสนับสนุนจากส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จากผลการวิจัย ส่วนหนึ่งพบว่า ปางช้างในจังหวัดเชียงใหม่มีวิธีการจัดการเกี่ยวกับการสื่อความหมายให้แก่ นักท่องเที่ยวที่หลากหลาย และมีปางช้างหลายแห่งที่ขาดการสื่อความหมายธรรมชาติและ วัฒนธรรม ที่เป็นระบบ หลายปางมักอาศัยมัคคุเทศก์ในการสื่อความหมายซึ่งมัคคุเทศก์อาจไม่เข้าใจเรื่องช้าง ตลอดจนธรรมชาติและวัฒนธรรมของพื้นที่ได้ดีเท่ากับบุคลากรของปางช้าง นอกจากนี้การสื่อ ความหมายส่วนใหญ่มักเป็นไปในรูปแบบการให้ความรู้แต่ไม่รวมถึงการปลูกจิตส านึกด้าน การอนุรักษ์ ธรรมชาติ วัฒนธรรม และสวัสดิภาพของช้างเท่าที่ควร กอปรกับที่ผ่านมามีกระแสต่อต้านการใช้ตะขอ และโซ่รวมถึงกิจกรรมการขี่ช้างแบบนั่งแหย่งจากนักท่องเที่ยวจากทางยุโรปและอเมริกา ซึ่งเป็นผลมา จากการไม่เข้าใจถึงวัฒนธรรมการเลี้ยงช้างและธรรมชาติทางสรีระของช้าง โดยที่มิได้มีกระบวนการ สร้างความรู้ความเข้าใจเท่าที่ควร (ดังภาพ ที่ 1 Problem Tree ) ทางคณะผู้วิจัยจึงเล็งเห็นว่าควรมี การจัดการความรู้ด้านการสื่อความหมายเพื่อเป็นเครื่องมือในการปลูกจิตส านึกและสื่อสารสร้างความ เข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเลี้ยงช้าง ค าว่าการสื่อควา มหมาย ( Interpretation) นั้น กล่าวโดยสรุปคือการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างความประทับใจ และสร้างจิตส านึกในการอนุรักษ์ให้เกิดขึ้นแก่นักท่องเที่ยวไปพร้อมกัน โดย จุดมุ่งหมายส าคัญคือการปลูกจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์ให้เกิดขึ้น จากการที่คณะผู้วิจัยเห็นว่าควรจะมี การจั ดการความรู้ด้านการสื่อความหมายและอบรมให้ความรู้แก่มัคคุเทศก์และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง แต่เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรค COVID19 ทำให้การอบรมในรูปแบบปกตินั้นไม่สามารถ ท าได้ คณะผู้วิจัยจึงเห็นว่าการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์เป็นช่องทางที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เป็นสื่ ที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ในวงกว้าง และยังเป็นการ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต คณะผู้วิจัยจึงได้ด าเนินโครงการพัฒนา หลักสูตรออนไลน์เรื่องการสื่อ ความหมายด้านการท่องเที่ยวช้างสำหรับมัคคุเทศก์ดังกล่าว โดยในขั้นตอนการดำเนินงานนั้น

3.เนื่องจากทรัพยากรป่าไม้ในบริเวณรอบปางมีอยู่อย่างจำกัด และการนำช้างมาเลี้ยงรวมกันเป็น จำนวนหลายสิบเชือก จำเป็นต้องได้รับอาหารจากแหล่งเกษตรกรรมภายนอกปางเป็นหลัก ประเภท หญ้าเนเปียร์ บาน่า และต้นข้าวโพด เกิดเป็นค่าใช้จ่ายพื้นฐาน ยกตัวอย่างปางช้างแม่แตง มีค่าใช้จ่าย พื้นฐานรายวันสำหรับอาหารช้างวันละ 9,000 บาท หากปางช้างสามารถพัฒนาศักยภาพในการเป็น ผู้ผลิตอาหารหลักของช้างได้เอง ตลอดยังรวมไปถึงศักยภาพในการผลิตพืชอาหารรองและพืชใช้ประโยชน์อื่นๆที่เกี่ยวข้องในการทำธุรกิจปางช้าง เช่น พืชสมุนไพรสำหรับช้างป่วย อาหารเสริมพวก กล้วย เป็นต้น ก็จะสามารถลดค่าใช้จ่ายพื้นฐานได้ไม่มากก็น้อย เพื่อส่งเสริ มให้เกิดการบริหารจัดการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อันเป็นการเพิ่มมูลค่าให้ธุรกิจ ปางช้าง คณะผู้ วิจัย จึงพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการให้กับปางช้าง ผ่านการศึกษาบนพื้นฐานทาง องเที่ยว วิทยาศาสตร์ การแลกเปลี่ยนแนวคิดและข้อมูลผ่านความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการ ชุมชน ตลอดจนนักท่ เพื่อให้ปางช้าง สามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในพื้นที่ได้อย่าง ยั่งยืน อีกทั้งยังช่วยให้ภาพลักษณ์ของสถานประกอบการปางช้างดีขึ้น ตามรูปแบบแนวทางก าร ท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสามารถช่วยสร้างความเข้าใจอันดีต่อชุมชนโดยรวม แล ะ สามารถขยายองค์ความรู้เป็นเป็นต้นแบบให้กับสถานประกอบการการท่องเที่ยวต่าง ๆ และส่งเสริม ความรู้ที่ถูกต้องให้กับชุมชน การปกครองส่วนท้องถิ่น และโรงเรียน เพื่อให้ตระหนักและเข้าใจถึงวิธีการ ดูแลสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศของชุมชนได้

4.อาหารของช้ำงเป็นหนึ่งในปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการเลี้ยงช้ำง โดยการให้อาหำรต้องให้ เพียงพอต่อการใช้พลังงำนในชีวิตประจำวัน ซึ่งถ้ำช้างทางานด้วยย่อมต้องได้รับอำารเพิ่มมาก ขึ้นด้วย ช้างกินอาหารวันละ 200-300 กิโลกรัม หรือ ประมำณ 8-10% ของร่ำงกำย อำหำรที่ปำงช้ำงมักเตรียมให้ช้ำงจะแตกต่ำงตำมสภำพพื้นที่ของแต่ละภำค อำหำรหยำบ ได้แก่ หญ้ำเนเปียร์ หญ้ำบำน่ำ หญ้ำขน หญ้ำแห้ง หญ้ำแพงโกล่ำ ต้นไผ่ ต้นข้ำวโพด อ้อย ต้นสัปปะ รด ฟักทอง เป็นต้น พวกผลไม้ ได้แก่ กล้วย แตงโม สับปะรด เป็นต้น อำหำรเสริมได้แก่ อำหำรเม็ดของช้ำง อำหำรเม็ดของม้ำ ข้ำวเหนียว มะขำมเปียก สมุนไพรต่ำงๆ เป็นต้น กำร จัดเตรียมอำหำรที่มีคุณภำพ และเพียงพอส ำหรับช้ำงทุกเชือกในปำงช้ำงเป็นสิ่งจ ำเป็น โดย อำหำรที่ได้มำอำจเป็นกำรปลูกเองของแต่ละปำงช้ำงโดยมีพื้นที่ในกำรท ำแปลงหญ้ำหรือ 1 ข้ำวโพด แต่ถ้ำเป็นกำรจ้ำงให้หน่วยงำนอื่นหำอำหำรมำให้ต้องค ำนึงถึงคุณภำพ ควำมสะอำด เป็นส ำคัญ โดยเฉพำะกำรปนเปื้อนจำกสำรเคมี โลหะหนัก หรือ ยำฆ่ำแมลงซึ่งจะส่งผลเสียต่อ สุขภำพของช้ำงได้ (ฉัตรโชติ, 2561) อย่ำงไรก็ตำมจำกกำรงำนวิจัยของแสงทิวำ และคณะ พบว่ำปำงช้ำงในจังหวัดเชียงใหม่มักประสบปัญหำกำรขำดแคลนอำหำรในช่วงหน้ำแล้ง โดยเฉพำะในช่วงเดือนธันวำคม-เมษำยน ซึ่งเป็นช่วงที่ปริมำณฝนลดลงและเกิดสภำพอำกำศ แห้งแล้ง ประกอบกับช้ำงในปำงช้ำงมีกำรบริโภคอำหำรหยำบเพียงชนิดเดียวคือหญ้ำเนเปียร์ องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ กองกำรสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 และสมำคม สหพันธ์ช้ำงไทย ลงนำมบันทึกข้อตกลงในกำรร่วมกันปลูกหญ้ำเนเปียร์บนพื้นที่ปลูกจ ำนวน 93 ไร่ เพื่อช่วยเหลือช้ำงไทยในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จำกวิกฤติโควิด-19 และสร้ำงควำม ยั่งยืนทำงอำหำรให้กับช้ำง ดังนั้นกำรวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำควำมเหมำะสมของ พื้นที่ และสร้ำงควำมร่วมมือระหว่ำงภำคเอกชนหรือเจ้ำของปำงช้ำงให้เป็นเกษตรกรสมำชิกใน กำรปลูกสร้ำงแปลงหญ้ำเนเปียร์ และหญ้ำชนิดอื่นๆ เพื่อให้เกิดควำมหลำกหลำยของอำหำร ช้ำง และถนอมอำหำรเพื่อใช้ในฤดูแล้ง

ปัจจุบันมีนักวิจัยที่ดำเนินโครงการช้าง มีรายชื่อดังต่อไปนี้..

1.การออกแบบอาคารศูนย์การศึกษาวิจัยเพื่อการอนุรักษ์ช้างเอเชีย คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๐ กวิน ว่องวิกย์การ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ > ศูนย์ออกแบบและให้คำปรึกษางานสถาปัตยกรรม

2.โครงการพัฒนาหลักสูตรออนไลน์เรื่องการสื่อความหมายด้านการท่องเที่ยวช้างสำหรับมัคคุเทศก์

๐ สมยศ โอ่งเคลือบ คณะมนุษยศาสตร์

3.การศึกษาแนวทางการจัดการอาหารช้างของปางช้างในจังหวัดเชียงใหม่และศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย จังหวัดลำปาง

๐ แสงทิวา สุริยงค์ คณะเกษตรศาสตร์ฃ

4.การส่งเสริมการผลิตอาหารหยาบเพื่อความมั่นคงทางอาหารให้กับช้างในจังหวัดเชียงใหม่

๐ แสงทิวา สุริยงค์ คณะเกษตรศาสตร์ > ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์

5.การประเมินศักยภาพการให้บริการของระบบนิเวศ และการพัฒนาแนวทางเพื่อบริหารจัดการเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาปางช้างในจังหวัดเชียงใหม่ ระยะที่ 2

๐ ณัฐวุฒิ สารีอินทร์ คณะวิทยาศาสตร์

6.การพัฒนาหลักสูตรออนไลน์เกี่ยวกับการสื่อความหมายด้านการท่องเที่ยวช้างที่เหมาะสมกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทย

๐ สมยศ โอ่งเคลือบ คณะมนุษยศาสตร์

7.การเสริมสร้างศักยภาพและความรู้ด้านการท่องเที่ยวช้างสำหรับบุคลากรท่องเที่ยวช้าง

๐ เฉลิมชาติ สมเกิด คณะสัตวแพทยศาสตร์

8.โครงการออกแบบอาคารศูนย์สุขภาพช้างและสัตว์ป่า คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

๐ กวิน ว่องวิกย์การ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

9.โครงการเสวนาวิชาการช้างและสัตว์ป่า ประจำปี 2561

๐ ฉัตรโชติ ทิตาราม คณะสัตวแพทยศาสตร์

10.การประชุมคณะทำงานด้านช้างเลี้ยงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประจำปี 2561

๐ ฉัตรโชติ ทิตาราม คณะสัตวแพทยศาสตร์

11.โครงการอบรมการถ่ายภาพช้าง การประกวดถ่ายภาพและการแสดงผลงานภาพถ่ายเพื่อการอนุรักษ์ช้าง"คนกับช้าง"

๐ ฉัตรโชติ ทิตาราม คณะสัตวแพทยศาสตร์

12.การประชุมช้างแห่งชาติ ประจำปี 2562

๐ ฉัตรโชติ ทิตาราม คณะสัตวแพทยศาสตร์ > ภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า

13.เสวนาวิชาการช้างและสัตว์ป่า ประจำปี 2562

๐ ฉัตรโชติ ทิตาราม คณะสัตวแพทยศาสตร์

14.การจัดการสุขภาพ ระบบสืบพันธุ์ และ ผสมพันธุ์ช้างเอเชีย ประจำปี 2562

๐ ฉัตรโชติ ทิตาราม คณะสัตวแพทยศาสตร์ > ภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า

15.ารฝึกอบรมทางคลินิกในโรคช้าง สัตว์ป่าและสัตว์น้ำในประเทศเขตร้อน ครั้งที่ 1/2561 (สำหรับนักศึกษา OSU)

๐ จรัสแข เชี่ยวธัญญกิจ คณะสัตวแพทยศาสตร์

16.การประเมินศักยภาพการให้บริการของระบบนิเวศและการพัฒนาแนวทางเพื่อบริหารจัดการเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาปางช้างในจังหวัดเชียงใหม่

๐ ชิตชล ผลารักษ์ คณะวิทยาศาสตร์

17.โครงการหลักสูตรผู้ช่วยสัตวแพทย์ทางด้านช้าง

๐ ภัคนุช บันสิทธิ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์