พื้นที่ศรีบัวบาน

     การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุที่ยั่งยืนเพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพตนเองอยIางเป็นนองค์รวมโดยอาศัย

การมีส่วนร่วมของชุมชน เป็นนประเด็นที่ท้าทายในการส่งเสริมการเตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อเข้าสู่สังคมสูงอายุในอนาคต การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคLเพื่อสร้างศักยภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนอยIางเป็นองค์รวม เป็นการศึกษาวิจัยและพัฒนาที่ประกอบด้วยการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของชุมชน กาพัฒนารูปแบบการพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนอยIางเป็นองค์รวม และการประเมินผลการดำเนินงาน กลุIมเป้าหมายหลักคือ กลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลศรีบัวบาน และกลุ่มผู้มีสIวนเกี่ยวข้อง ทำการเก็บ รวบรวมข้อมูลด้วยการสนทนากลุIม การสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบสอบถาม กับผู้สูงอายุและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากนั้นข้อมูลได้นำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และประมวลผลสรุปผลการศึกษาดhานบริบทและสถานการณ์พบว่า ชุมชนมีกิจกรรมการดูแลสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ผ่านรูปแบบการดำเนินงานที่หลากหลาย มีโรงเรียนผู้สูงอายุที่มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และมีหลักสูตรที่ประกอบด้วยกิจกรรมสIงเสริมทักษะการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยูIในชุมชน โดยมีปัจจัยสนับสนุน คือ ความสนใจ การมีส่วนร่วม มีเครือข่ายและการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน แต่ปัญหาที่พบคือ ยังขาดรูปแบบการดำเนินกิจกรรมในการสร้างศักยภาพผู้สูงอายุที่สามารถจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงในชุมชน ดังนั้นรูปแบบที่ได้ร่วมกันพัฒนาขึ้นจึงเป็นการสร้างศักยภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนอยIางเป็นองค์รวม ผ่านหลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้การดำเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลศรีบัวบาน โดยเป็นหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุจิต อาสาที่ผสมผสานหลักธรรมที่เรียกว่า สาราณียธรรม 6 ประกอบด้วย กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ศีล สามัญญตา ทิฎฐิสามัญญตา และสาธารณโภคี ควบคู่ไปกับกิจกรรมพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพ ทักษะทางสังคม ทักษะอาชีพ ทักษะการถIายทอดภูมิปeญญาท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพในชุมชน มีการออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงผIานชมรมเสริมสุขผู้สูงวัยที่รIวมกันจัดตั้งขึ้น ผลการสร้าง ศักยภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนอยIางเป็นองค์รวม พบว่าผู้สูงอายุมีความรู้และความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเป็นองค์รวมดีขึ้น และสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้อย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยการมีส่วนรI่วมของชุมชนในการขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงาน

สรุป การสร้างศักยภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนอยIางเป็นองค์รวม โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชนที่ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุขึ้น สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุให้มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ตลอดจนเป็นการสร้างกลุIมเครือขIายให้ผู้สูงอายุจิตอาสาสามารถให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุกลุIมติดบ้านติดเตียงในชุมชน รวมทั้งเปJนการสIงเสริมให้ผู้สูงอายุมีทักษะทางสังคม ทักษะอาชีพและทักษะการถIายทอดภูมิปeญญาท้องถิ่นเพิ่มขึ้น ดังนั้น ควรมีการสนับสนุนการสร้างศักยภาพการดูแลสุขภาพผูู้สูงอายุในชุมชนอย่างเปJนองค์รวมเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สามารถจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชนที่ต่อเนื่อง เปJนการสร้างคุณคIาในตนเองและสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาที่มีอยูIให้กับชุมชนเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคตต่อไป

ตำบลศรีบัวบานได้มีนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้เข้าไปดำเนินโครงการ หลากหลายมิติ เช่น มิติทางด้านสุขภาพ มิติพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน มิติการบริหารจัดการ อื่นๆ เป็นต้น

โดยมีนักวิจัยที่ดำเนินโครงการในพื้นที่ศรีบัวบาน ดังต่อไปนี้

1.การสำรวจภาวะสุขภาพและสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพคนทำงานและประชาชนในหมู่บ้านเฟอร์นิเจอร์ บ้านม้า ต. ศรีบัวบาน อ. เมือง จ. ลำพูน

๐ วรางคณา นาคเสน คณะสาธารณสุขศาสตร์

2.แนวทางการพัฒนาข้อบัญญัติท้องถิ่นว่าด้วยการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ในพื้นที่เทศบาบตำบลศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

๐ วรพงศ์ ตระการศิรินนท์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์

3.การเสริมสร้างความรู้การบริหารจัดการการเงินและการบัญชีภาคครัวเรือนที่ดีให้กับประชาชนในพื้นที่เทศบาลดำบลศรีบัวบาน จังหวัดลำพูน

๐ วิสุทธร จิตอารี คณะบริหารธุรกิจ

4.แนวทางการพัฒนาข้อบัญญัติท้องถิ่นว่าด้วยการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในพื้นที่เทศบาล ต.ศรีบัวบาน อ.เมือง จ.ลำพูน (ระยะที่2)

๐ วรพงศ์ ตระการศิรินนท์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์

5.การเสริมสร้างความรู้การบริหารจัดการการเงินและการบัญชี ให้กับเยาวชนในพื้นที่เทศบาลตำบลศรีบัวบาน จังหวัดลำพูน

๐ วิสุทธร จิตอารี คณะบริหารธุรกิจ

6.การสำรวจภาวะสุขภาพและสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพคนทำงานและประชาชนในหมู่บ้านเฟอร์นิเจอร์ บ้านม้า ต. ศรีบัวบาน อ. เมือง จ. ลำพูน (ปีที่ 2)

๐ วรางคณา นาคเสน คณะสาธารณสุขศาสตร์

7.โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (CMU U2T for BCG ตำบลศรีบัวบาน)

๐ กานต์ คำแก้ว คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

8.การตรวจสอบสารเคมีที่ใช้ในการเกษตรและสารเคมีตกค้างในสิ่งแวดล้อมของชุมชนศรีบัวบานเพื่อการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัยและยั่งยืน

๐ นฤมล ทองไว คณะวิทยาศาสตร์