พื้นที่ดอยสุเทพ

     สร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านธรรมชาติวิทยาแบบมีส่วนร่วมเพื่อความยั่งยืนของชุมชน และทรัพยากรในพื้นที่ดอยสุเทพ จัดทำ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้ ธรรมชาติวิทยาของพื้นที่ดอยสุเทพด้วยกระบวนการที่หลากหลายไปยังกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็ก เยาวชน และบุค คลวัยทำงาน ความรู้เกี่ยวกับดอยสุเทพ และ เพื่อให้ศูนย์ฯ เป็นศูนย์กลางที่รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลองค์ โดยศูนย์ธรรมชาติวิทยาฯ ได้จัดกิจกรรมเพื่อให้ ภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษา และชุมชน ได้มีส่วนร่วม ภาครัฐ ภาคเอกชน ตั้งแต่การออกแบบกระบวนการ และรูปแบบสื่อการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับดอยสุเทพ การผลิตสื่อการเรียนรู้ หลักสูตรดอยสุเทพศึกษา จนถึงการประชาสัมพันธ์หลักสูตรดอยสุเทพศึกษา ในการดำเนินงาน ที่ผ่านมีพบว่า ด้านกระบวนการเรียนรู้และการผลิตสื่อให้กับกลุ่มเป้ เป้าหมาย ได้แก่ าหมาย มีการแบ่งกลุ่ม ครอบครัวและเด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มประถมศึกษา กลุ่มมัธยมศึกษา กลุ่ม อุดมศึกษา กลุ่มตามอัธยาศัย กลุ่มนักสร้างเนื้อหา ( Content creator) โดยเน้นการใช้สื่อขนาด เล็กร่วมกับกิจกรรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจกับพื้นที่ดอยสุเทพ และ ตระหนักและสร้างการเชื่องโยงระหว่างบุคคลกับพื้นที่ดอยสุเทพ เพื่อให้เกิดความ ในการดำเนินงานขั้นถัดไปจะ เข้าสู่กระบวนการผลิตสื่อและสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการมีส่วนร่วมจากภาคีต่อไป 

มีนักวิจัยที่ดำเนินโครงการพื้นที่ตำบลสุเทพ ซึ่งเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีรายชื่อดังต่อไปนี้..

1.โครงการฝึกงานก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม ประจำปีการศึกษา 2560 ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าเชิงดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่

๐ ธีรยุทธ อินทจักร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

2.การสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านธรรมชาติวิทยาแบบมีส่วนร่วมเพื่อความยั่งยืนของชุมชน และทรัพยากรในพื้นที่ดอยสุเทพ

๐ นที ทองศิริ คณะวิทยาศาสตร์

3.ระบวนการจัดการความรู้ด้านธรรมชาติวิทยาแบบมีส่วนร่วมเพื่อความยั่งยืนของชุมชน และทรัพยากรในพื้นที่ดอยสุเทพ

๐ ประสิทธิ์ วังภคพัฒนวงศ์ คณะวิทยาศาสตร์

4.การสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้านธรรมชาติวิทยาแบบมีส่วนร่วมเพื่อความยั่งยืนของชุมชน และทรัพยากรในพื้นที่ดอยสุเทพ

๐ พิมลรัตน์ เทียนสวัสดิ์ คณะวิทยาศาสตร์

5.การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพรในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุยเพื่อความมั่นคงใน ระบบการผลิตอาหารและการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นเมืองในระดับท้องถิ่น ปีที่ 2

๐ ถาวร สุภาวงค์ คณะเกษตรศาสตร์ > ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง

6.ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพรในพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุยเพื่อความมั่นคงใน ระบบการผลิตอาหารและการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นเมืองในระดับท้องถิ่น ปีที่ 1

๐ ถาวร สุภาวงค์ คณะเกษตรศาสตร์ > ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง

7. การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพโดยหมู่บ้านในพื้นที่และโดยรอบของอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ปีที่ 1-4

๐ ชวลิต กอสัมพันธ์ คณะเกษตรศาสตร์ > ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง